บทความ

หมู่เลือด และการให้เลือด

หมู่เลือดและการให้เลือด

    เมื่อคนไข้มีการเสียเลือดมากไม่ว่าจากอุบัติเหตุหรือจากการผ่าตัดจำเป็นต้องมีการให้เลือด  ( Blood transfusion ) แก่คนไข คนไข้จะได้รับเลือดจากผู้บริจาค ( Donor ) โดยผ่านทางสายยางเข้าสู่เวน ซึ่งมักจะใช้บริเวณหน้าแขนของคนไข้ การให้เลือดนั้นอาจจะให้เลือดทั้งหมด หรือให้เฉพาะน้ำเลือด เพลตเลต หรือเม็ดเลือดขึ้นอยู่กับแพทย์ผู้รักษา

                การให้เลือดนั้นผู้ให้ต้องมีอายุตั้งแต่ 17 ปีขึ้นไป พร้อมกับตรวจหมู่เลือดรวมทั้งโรคที่ติดต่อทางเลือด เช่น ไวรัสตับอักเสบ เอดส์ จากนั้นจะดูดเลือดของผู้บริจาคออกทางเส้นเวน แล้วจึงนำไปเก็บไว้ในขวดที่มีสารป้องกันการแข็งตัวของเลือด และสารอาหารสำหรับเซลล์เม็ดเลือด เลือดจะถูกนำไปเก็บในธนาคารเลือด ( Bloob bank ) ที่อุณหภูมิ 4 C สามารถเก็บไว้ได้นาน

                นายแพทย์ชาวเวียนนา ชื่อ คาล แลนสไตเนอร์ ( Karl Landsteiner ) พบว่าหากมีการถ่ายเลือดผิดหมู่ จะเกิดปฏิกิริยาระหว่างแอนติเจนและแอนติบอดี ( Antigen – antibody ) จับกลุ่มกันตกตะกอน ( Agglutination  ซึ่งต่างจากการแข็งตัวของเลือดเมื่อเกิดบาดแผล ซึ่งเรียกว่า Coagulation  )

                นายแพทย์ผู้นี้ได้แบ่งเลือดออกเป็น 4 หมู่ใหญ่ ๆ คือ เลือดหมู่ A , B , AB และ O ซึ่งมีคุณสมบัติต่างกันคือ

                เลือดหมู่  มีแอนติเจน ที่ผิวเม็ดเลือดแดง มีแอนติบอดี ในน้ำเลือด

                เลือดหมู่  มีแอนติเจน B  ที่ผิวเม็ดเลือดแดง มีแอนติบอดี ในน้ำเลือด

                เลือดหมู่ AB มีแอนติเจน และ ที่ผิวเม็ดเลือดแดง แต่ไม่มีแอนติบอดี

                เลือดหมู่ ไม่มีแอนติเจน แต่มีแอนติบอดี ทั้ง a  และ b  ในน้ำเลือด

                การให้เลือดโดยทั่วไปจะให้เลือดกับคนที่มีเลือดหมู่เดียวกันจะปลอดภัยที่สุด แต่ถ้าหาไม่ได้จริง ๆ จะต้องไม่ให้แอนติเจนของผู้ให้ตรงกับแอนติบอดีของผู้รับเด็ดขาด มิฉะนั้นเลือดจะตกตะกอน หลักการให้เลือดอาจสรุปเป็นแผนผัง 

 

 

จากผังข้างต้นเลือดหมู่ จะให้เลือดได้กับคนทุกหมู่ จึงมักเรียกว่า ผู้ให้สากล () แต่คนที่มีเลือดหมู่ O นี้จะรับได้เฉพาะจากคนที่มีเลือดหมู่ O เท่านั้น สำหรับคนหมู่ AB รับเลือดได้จากทุกหมู่เลือด จึงเรียกว่า ผู้รับสากล () แต่ไม่สามารถให้เลือดกับคนหมู่อื่นได้เลย

                ส่วนเลือดหมู่ A รับได้จากหมู่  และหมู่ของตัวเอง รวมทั้งสามารถให้เลือดแก่คนหมู่ AB ได้อีก

                คนเลือดหมู่ รับได้จากหมู่ และหมู่ของตัวเอง รวมทั้งสามารถให้เลือดแก่คนหมู่ AB  ได้อีกด้วย

                ในประชากรทั้งหมดคนที่มีเลือดหมู่ O จะมีมากที่สุดมีอยู่ราว ๆ  40  50 % หมู่ มีประมาณ 40 % หมู่ มีอยู่ราว ๆ 10 -50 % หมู่ AB  มีอยู่ราว ๆ 5 %

                หากเขียนตารางรับและการให้หมู่เลือดจะได้ดังนี้

 

 

หมู่เลือดผู้รับ

A

B

C

D

หมู่เลือดของผู้ให้

A

/

X

/

X

B

X

/

/

X

C

X

X

/

X

D

/

/

/

/

 

ถ้าผู้รับมีเลือดหมู่ จะรับเลือดจากหมู่ AB ไม่ได้ เพราะหมู่ AB  มีแอนติเจน ทั้ง A และ   ส่วนผู้รับคือหมู่  มีแอนติบอดีa สามารถจับกลุ่มตกตะกอนกับแอนติเจน ได้ร

ถ้าผู้รับมีหมู่เลือด จะรับเลือดได้เฉพาะหมู่ เท่านั้น เพราะหมู่ มีแอนติบอดี ทั้ง a  และ ซึ่งจะตรงกับแอนติเจนของหมู่ A ,B และ AB  จึงรับเลือดหมู่อื่นไม่ได้

จะเห็นว่าการให้เลือดนั้นพิจารณาเฉพาะแอนติเจนของผู้ให้กับแอนติบอดีของผู้รับเท่านั้น ไม่ต้องพิจารณาถึงแอนติบอดีของผู้ให้และแอนติเจนของผู้รับ เพราะหากนำมาพิจารณาพร้อม ๆ กัน ก็จะเหลือแต่การให้และรับเฉพาะหมู่เลือดเดียวกันเท่านั้น โดยทั่ว ๆ ไปแล้วแอนติบอดีของผู้ให้ไม่ค่อยมีผลกับแอนติเจนของผู้รับมากนัก เนื่องจากเลือดที่ให้มีปริมาณน้อยกว่าเลือดของผู้รับ การตกตะกอนเกิดขึ้นบ้างเพียงเล็กน้อย การรับและการให้ดังแผนภาพและตารางจึงใช้ได้


นอกจากหมู่เลือดที่สำคัญ 4 หมู่ แล้วยังมีหมู่เลือดอีกหมู่ที่มีความสำคัญแก่ชีวิต นั่นคือ หมู่เลือดระบบ Rh ซึ่งได้มาจากคำว่า Rhesus monkey ซึ่งเป็นลิงวอกชนิดหนึ่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า  Macaca mulutta หมู่เลือดระบบ Rh  แบ่งเป็น 2 พวก คือ Rh+และ Rh-

คนที่มีหมู่เลือด  Rh+  มีแอนติเจน  Rh  ที่ผิวเม็ดเลือดแดง  แต่ไม่มีแอนติบอดี Rh ในน้ำเลือด

คนที่มีหมู่เลือด Rh-  ไม่มีแอนติเจน  Rh ที่ผิวเม็ดเลือดแดง และไม่มีแอนติบอดี  Rh ในน้ำเลือด

แต่คนที่มี Rh- นี้สามารถสร้างแอนติบอดี Rh ในน้ำเลือดได้ เมื่อได้รับเลือดหมู่ Rh+ เข้าไป ในการถ่ายเลือดต้องคำนึงถึงเลือด Rh ด้วย เพราะคนที่มีเลือด Rh- ครั้งแรกเมื่อได้รับเลือด Rh+ อาจถูกกระตุ้นให้สร้างแอนติบอดี Rh ในร่างกายผู้รับและมีการสะสมแอนติบอดี Rh ในการรับเลือดคราวต่อไปอาจมีการจับกลุ่มของเม็ดเลือดแดงทำให้ถึงตายได้

 
ในกรณีที่หญิงมีเลือด  Rh- แต่งงานกับชายที่มีเลือด Rh+ หากเกิดทารกในครรภ์มีเลือด Rh+ ซึ่งได้ยีนมาจากพ่อ เลือดทารกในครรภ์นั้นจะกระตุ้นให้แม่สร้างแอนติบอดี Rh ขึ้นมาต่อต้าน Rh+ ทารกคนแรกอยู่ในครรภ์เพียง 9 เดือนแอนติบอดี Rh ของแม่ยังไม่มากพอที่จะทำลาย Rh+ ได้ ลูกคนแรกจึงคลอดออกมาปกติ แต่ถ้าลูกคนถัดมาเกิดมี Rh+ เป็นคนที่สองอีก เลือดของแม่จะสร้างแอนติบอดี Rh เพิ่มมากขึ้น และสามารถส่งเข้าไปยังรกสู่ทารกในครรภ์ ทำให้เม็ดเลือดแดงของทารกจับกลุ่มตกตะกอน ทารกถึงตายได้ โรคนี้เรียกว่า อิริโทรบลาสโทซิส ฟีทาลิส                            ( Erythroblastosis fetalis ) ��m...�.�...� �q� มู่ AB  ได้อีกด้วย

                ในประชากรทั้งหมดคนที่มีเลือดหมู่ O จะมีมากที่สุดมีอยู่ราว ๆ  40  50 % หมู่ มีประมาณ 40 % หมู่ มีอยู่ราว ๆ 10 -50 % หมู่ AB  มีอยู่ราว ๆ 5 %

                หากเขียนตารางรับและการให้หมู่เลือดจะได้ดังนี้

 

 

หมู่เลือดผู้รับ

A

B

C

D

หมู่เลือดของผู้ให้

A

/

X

/

X

B

X

/

/

X

C

X

X

/

X

D

/

/

/

/

 

ถ้าผู้รับมีเลือดหมู่ จะรับเลือดจากหมู่ AB ไม่ได้ เพราะหมู่ AB  มีแอนติเจน ทั้ง A และ   ส่วนผู้รับคือหมู่  มีแอนติบอดีa สามารถจับกลุ่มตกตะกอนกับแอนติเจน ได้ร

ถ้าผู้รับมีหมู่เลือด จะรับเลือดได้เฉพาะหมู่ เท่านั้น เพราะหมู่ มีแอนติบอดี ทั้ง a  และ ซึ่งจะตรงกับแอนติเจนของหมู่ A ,B และ AB  จึงรับเลือดหมู่อื่นไม่ได้

จะเห็นว่าการให้เลือดนั้นพิจารณาเฉพาะแอนติเจนของผู้ให้กับแอนติบอดีของผู้รับเท่านั้น ไม่ต้องพิจารณาถึงแอนติบอดีของผู้ให้และแอนติเจนของผู้รับ เพราะหากนำมาพิจารณาพร้อม ๆ กัน ก็จะเหลือแต่การให้และรับเฉพาะหมู่เลือดเดียวกันเท่านั้น โดยทั่ว ๆ ไปแล้วแอนติบอดีของผู้ให้ไม่ค่อยมีผลกับแอนติเจนของผู้รับมากนัก เนื่องจากเลือดที่ให้มีปริมาณน้อยกว่าเลือดของผู้รับ การตกตะกอนเกิดขึ้นบ้างเพียงเล็กน้อย การรับและการให้ดังแผนภาพและตารางจึงใช้ได้   

 

ในคนไทยส่วนใหญ่แล้วไม่ได้คิดเลือดหมู่ Rh- กันเท่าใดนัก เพราะส่วนใหญ่มากกว่า 99 % เป็น Rh+ มีเพียง 1 ใน 500 เท่านั้น ที่เป็น Rh-

นอกจากเลือดระบบ ABO  และ Rh แล้วยังมีหมู่เลือดอีกมากมาย ซึ่งไม่กล่าวถึงในที่นี้ เช่น หมู่เลือด MN และอื่น ๆ